กรรมใดผมจึงถูกไฟเผาที่มือ
ตัวผมตอนอายุ ๗-๘ ขวบ เคยจุดไฟเผามดแดงเล่นด้วยความไร้เดียงสา ต่อมาก็เล่นปืนแก๊ปแบบเด็กๆ จนทำให้ถูกไฟเผาที่มือ
โทษของการกักขังสัตว์
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วได้ ไม่มีสถานที่ใด ที่จะพ้นจากการรับผลกรรมชั่วได้เลย
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 7 ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๗ ( ยอดนักสังเกต )
้าวสักกะไม่ยอมคืนรถ และอ้างว่าเป็นเจ้าของรถ เมื่อตกลงกันไม่ได้ ชาวบ้านที่เดินสวนทางมาเห็นเข้า จึงบอกให้ทั้งสองไปหามโหสถบัณฑิต เพื่อช่วยตัดสินปัญหาว่า ใครเป็นเจ้าของรถ ใครเป็นคนขโมยกันแน่
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - รอดชีวิตเพราะพหูสูต
เมื่อครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิต ชื่อว่า เสนกบัณฑิต ผู้มีปัญญามาก ในตอนนี้ท่านได้ช่วยพราหมณ์ชราให้พ้นภัยจากงูร้ายที่เข้าไปอยู่นอนกินข้าวสตุก้อน ข้าวสตุผง อยู่ในไถ้ของพราหมณ์ ด้วยปัญญาอันชาญฉลาด เหตุการณ์ทั้งหมดจะเป็นอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพิชิตปัญหา
พระโพธิสัตว์ได้ใช้สติปัญญา แก้ข้อครหาของอำมาตย์ทั้ง ๕ คน เช่น เรียกให้อุจเฉทวาทีอำมาตย์เข้ามา พลางกล่าวว่า "ท่าน กล่าวว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล และยังสำคัญว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมขาดสูญในโลกนี้เท่านั้น สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกไม่มีเลย แล้วมาหัวเราะเยาะเราทำไม"
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 7
ส่วนพระมหาชนกนั้น เมื่อทรงพ้นจากรัศมีการดึงดูดของน้ำและสัตว์ร้ายได้แล้ว ก็ทรงแหวกว่ายลอยคอเหมือนกับท่อนกล้วย ที่ล่องลอยอยู่ในคลื่นมหาสมุทร ท่านได้เพียรว่ายเพื่อจะข้ามข้ามมหาสมุทรด้วยกำลังแขนอยู่ถึง ๗ วัน
ติสสสามเณร สามเณรผู้รู้วันละสังขาร
ในสมัยพุทธกาลมีสามเณร น้อยองค์หนึ่งชื่อติสสะ อายุ ๗ ปีมาบวชเพื่อศึกษาเล่าเรียน และปฏิบัติธรรมอยู่ในสำนักพระสารีบุตรเถระอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นระยะเวลาหนึ่งปี
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ผู้ไม่ประมาทย่อมถึงบรมสุข
สิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือสิ่งของก็ตาม ล้วนมีความไม่เที่ยง แปรปรวนอยู่ตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมโทรมทุกอนุวินาที และในที่สุดต้องแตกดับสลายไป มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วก็ต้องตาย แม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นเลิศกว่าใครในภพสาม ยังต้องทิ้งพระวรกายของพระองค์ไว้ในโลก และดับขันธปรินิพพาน
พุทธชิโนรส (๓)
มารดาบิดาหรือว่าหมู่ญาติทั้งหลาย ไม่พึงทำเหตุนั้นให้ได้ แต่จิตที่บุคคลตั้งไว้ชอบ พึงทำบุคคลนั้นให้ประเสริฐกว่าเหตุนั้น